top of page
สมุนไพรไทยและความรู้เรื่องการรักษาสุขภาพรวม 65 เรื่อง


![]() 1. ดอกอัญชันบำรุงเส้นผม บำรุงสาย ตา ดูแลระบบการทำงานเส้นโลหิดฝอย | ![]() 2. พริกขี้หนูจากวิกิพีเดีย ผลมีรสเผ็ดร้อน ใช้ขับลม ขับปัสสาวะ แก้ท้องอืด ผลดองสุราใช้ทาแก้ฟกช้ำดำเขียว ต้นมีรสเผ็ด ใช้ขับลม แก้กษัย รากใช้ฝนกับมะนาวแทรกเกลือ เป็นยากวาดคอ ใบใช้แก้หวัด ตำใบสดผสมกับดินสอพองพอกขมับแก้ปวดศีรษะได้ | ![]() 3. ใบชะพลูจากวิกิพีเดีย ชะพลูเป็นพืชที่มีสรรพคุณทางยา ดอกทำให้เสมหะแห้ง ช่วยขับลมในลำไส้ รากขับเสมหะให้ออกมาทางระบบขับถ่าย ขับลมในลำไส้ ทำให้เสมหะแห้ง ต้นขับเสมหะในทรวงอก ใบมี รสเผ็ดร้อน ทำให้เจริญอาหาร ขับเสมหะ ใบ ต้น และดอกใช้ขับเสมหะ รากใช้ขับลม น้ำต้มทั้งต้นช่วยลดน้ำตาลในเลือดของกระต่ายที่เป็นเบาหวานได้ |
---|---|---|
![]() 4. กระชายจากวิกิพีเดีย : เป็นพืชที่ใช้เป็นส่วนผสมของอาหารโดยเฉพาะรากกระชาย ใช้เป็นเครื่องจิ้มหรือเป็นส่วนประกอบของน้ำพริกแกงโดยเฉพาะแกงที่ใส่ปลา เช่น แกงป่า ต้มโฮกอือ กระชายดับกลิ่นคาวของปลาได้ดี | ![]() 5. กระชายดำหง้าใต้ดิน - มีรสเผ็ดร้อนขม แก้ปวดท้อง มวนในท้อง ท้องอืดท้องเฟ้อ บำรุงกำลัง บำรุงกำหนัด แก้กามตายด้าน เป็นยารักษาริดสีดวงทวาร เหง้าและราก - แก้บิดมูกเลือด เป็นยาขับปัสสาวะ แก้ปัสสาวะพิการ ใช้เป็นยาภายนอกรักษาขี้กลาก ใบ - บำรุงธาตุ แก้โรคในปาก คอ แก้โลหิตเป็นพิษ ถอนพิษต่างๆ วิธีใช้และปริมาณที่ใช้ : แก้ท้องร่วงท้องเดิน ใช้เหง้าสด 1-2 เหง้า ตำหรือฝนเหง้าที่ปิ้งไฟแล้วกับน้ำปูนใส หรือคั้นให้ข้นๆ รับประทานครั้งละ 1-2 ช้อนแกง แก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด ปวดมวนในท้อง ใช้เหง้าและราก ประมาณครึ่งกำมื | ![]() 6. เพชรสังฆาตสรรพคุณของเพชรสังฆาต รักษาอะไรได้บ้าง รักษาริดสีดวง (วิจัยพบว่าประสิทธิภาพไม่ต่างกับยารักษาแผนปัจจุบัน (Daflon) แต่ราคาถูกกว่า) และยังดีในริดสีดวงที่มีการปวดและอักเสบ เพ ราะเพชรสังฆาตสามารถลดอักเสบ ลดปวดได้ และยังทำให้หลอดเลือดแข็งแรง จากสารฟลาโวนอยด์ที่พบในเพชรสังฆาต ปัจจุบันใช้เป็นยารักษารักษาหลัก ในผู้ป่วยริดสีดวงทวารหนักที่โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร - บำรุงกระดูก ใช้แพร่หลายในหมอพื้นบ้านและหมออายุรเวท - เพิ่มมวลกระดูก - สมานกระดูกที่หัก โดยกระตุ้นการสร้างเซลล์กระดูก และลดอาการบวมและอักเสบไ |
![]() 7. กับ 6 อภินิหารผักลดความดันกระเทียม ขิง กระเจี๋ยบแดง ขึ้นฉ่าย บัวบก มะรุม | ![]() 8. กับ 6 อภินิหารผักฆ่าไขมันขิง กระเทียม สมอไทย ตรีผลา(สมอพิเภกและมะขามป้อม) ดอกคำฝอย | ![]() 9. กับ 4 อภินิหารผักฆ่าน้ำตาลมะระขี้นก ช้าพลู ผักเชียงดา ตำลึง |
![]() 10. ลูกยอสำหรับการทานยอเพื่อรักษากรดไหลย้อน สามารถทานเป็นน้ำลูกยอ 1-2 ช้อนโต๊ะ หรือทาน 1-2 แคปซูล ก่อนอาหาร 15-30 นาที เช้า กลางวัน เย็น | ![]() 11.กับ 6 สมุนไพรต้านพิษสัตว์ร้ายกระดูกไก่ดำ ตะขาบบิน เสลดพังพอน หอมแดง โลดทะนงแดง ตำลึง | ![]() 12. เถาวัลย์เปรียงห้ปัจจุบันเถาวัลย์เปรียงแคปซูลได้รับการบรรจุอยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ โดยมีขนาดรับประทานอยู่ที่ ครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร ทานเวลามีอาการปวดเมื่อย หรือใช้เถาหั่นเป็นชิ้นๆ ตากแห้ง แล้วนำมาคั่วไฟให้หอม หรือจะไม่คั่วก็ได้ ใช้ประมาณ 1 กำมือ ใส่น้ำพอท่วม ต้มจากน้ำ 3 ส่วน เหลือครึ่งหนึ่ง กินมื้อละ 1 แก้ว หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น |
![]() |